ประวัติโครงการก่อตั้งวิทยาเขตบ้านสามพร้าว
ได้ลงนามบันทึกข้อตกลง ระหว่าง ม.ราชภัฏอุดรธานี กับอบต.สามพร้าว เมื่อวันที่ 4 มิ.ย. 2547 บนที่ดินสาธารณประโยชน์ พื้นที่ 2,350 ไร่ บริเวณโคกขุมปูน หมู่ที่ 1 บ้านสามพร้าว ต.สามพร้าว อ.เมือง จ.อุดรธานี เพื่อพัฒนาสถานที่ของโครงการให้กลายเป็นศูนย์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อ การวิจัยและพัฒนาท้องถิ่น ซึ่งเป็นหน่วยงานวิจัยสร้างองค์ความรู้และวิทยาการสมัยใหม่ ที่มีบทบาทต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ตั้งของอุทยานวิทยาศาสตร์ (Science Parks) เพื่อเป็นแหล่งความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ สาธารณสุข การแพทย์และพยาบาล การเกษตรและเลี้ยงสัตว์ ศูนย์ศึกษาพันธุ์ไม้พื้นเมือง เขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์ และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เป็นที่รองรับการ ศึกษาของคณะ คุรุศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ คณะเทคโนโลยี จาก ม.ราชภัฏอุดร และ ม.ราชภัฏอุดรธานีวิทยาเขตสามพร้าว เตรียมเปิดคณะวิศวกรรม คณะพยาบาล คณะแพทยศาสตร์ ตามลำดับ เพื่อเป็นแหล่งความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ สาธารณสุข การแพทย์และพยาบาล และอาคารโรงพยาบาล ขนาด 500 เตียง ให้บริการแก่ท้องถิ่นชุมชน ภายใต้หัวใจหลักของโครงการที่ว่า มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีบ้านสามพร้าว ขยายโอกาสทางการศึกษา โดยมุ่งเน้นผลิตบัณฑิตออก รับใช้ประเทศชาติ และเพื่อคนอุดรธานี ”
ทั้งนี้ ความก้าวหน้าการก่อสร้างมหาวิทยาลัย ณ ศูนย์การศึกษาสามพร้าว ขณะนี้การก่อสร้างและพัฒนาพื้นที่แล้วเสร็จกว่า 80% แล้ว ได้แก่ อาคารกลุ่มเทคโนโลยี 6 หลัง พร้อมบ้านพักอาจารย์ และอาคารเรียนรวม อาคารกลุ่มวิทยาศาสตร์ รวมทั้งหอพักนักศึกษา และ
ดร.ณัติเทพ พิทักษานุรัตน์ อธิการบดี กล่าวถึงความก้าวหน้าในการพัฒนาพื้นที่ล่าสุดว่า “มหาวิทยาลัยฯ ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานภายนอกเป็นอย่างดี โดยนายอำนาจ ผการัตน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี ได้ช่วยผลักดันโครงการพัฒนาด้านสาธารณูปโภค ไปยังพื้นที่ศูนย์การศึกษา ดำเนินการรังวัดเขตถนน 4 ช่องจราจร จากถนนเลี่ยงเมืองอุดรธานี ไปยังศูนย์การศึกษาสามพร้าว ระยะทางประมาณ 14 กิโลเมตร เพื่ออำนวยความสะดวกแก่นักศึกษา ซึ่งแขวงการทางอุดรธานี สำนักงานที่ดินจังหวัดอุดรธานี ได้เข้ามาช่วยเหลือ ในการดำเนินงาน ” (ล่าสุดมีโครงการถนนวงแหวนชั้นที่ 2 จากถนนมิตรภาพที่มาจากขอนแก่น ตรง ต.โนนสูง ผ่านสามพร้าว ไปเชื่อมต่อถนนมิตรภาพทางไปหนองคาย ที่ ต.นาข่า )
คนอุดรต่างคนต่างอยากเห็นอุดร มีสถาบันอุดมศึกษา อันขึ้นชื่อเป็นหน้าเป็นตา เป็นแหล่งศึกษาของลูกหลานชาวอุดรอย่างแท้จริง แนวทางที่น่าจะเป็นไปได้มากที่สุดคือการขยับขยายราชภัฎที่สามพร้าวให้เป็น มหาวิทยาลัยเอกเทศในอนาคต เพราะในตอนนี้มีราชภัฎอุดรได้เป็นผู้เริ่มต้นแล้ว การของบประมาณต่อยอดจากรัฐบาลน่าจะทำได้ง่ายขึ้น โดยให้พี่น้องชาวอุดรร่วมกันผลักดันมหาวิทยาลัยให้เกิดขึ้น ในช่วงแรกอาจจะต้องให้ราชภัฎเป็นพี่เลี้ยงให้ก่อน และยกฐานะขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยอุดรธานี ต่อไปน่าจะทำได้(เช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ซึ่งยกฐานะมาจาก ม.ราชภัฏ )
มรภ.ราชภัฎอุดรธานี และทางท่านนายกหาญชัย และอธิการบดี มรภ.ราชภัฏ ได้กล่าวถึงแนวนโยบายการพัฒนามหาวิทยาลัยในปี 2553 – 2556 ดังนี้
1.ความคืบหน้าจากวีดีทัศน์ ทางมหาวิทยาลัยได้นำเสนอ คือ
- การจัดตั้ง คณะและสาขาวิชาเพิ่มภายในปี 2554-2556 มีดังนี้
จะเปิดหลังมีความพร้อมด้านอาคารเสร็จเรียบร้อยที่ วิทยาเขตสามพร้าวคือ
1.คณะพยาบาลศาสตร์
2.คณะวิศวกรรมศาสตร์
3.คณะแพทยศาสตร์
4.คณะเภสัชศาสตร์
5.คณะทันตะแพทยศาสตร์
- การแยกสาขาวิชา และคณะที่มีความทับซ้อนกันกับที่ มรภ.เก่าในตัวเมือง เช่น นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ สาธารณะสุข ศิลปกรรมศาตร์ รวมไปถึงสาขาวิชาอื่นๆอีก
โดยโครงการที่ร่วมกับ อบจ. ก็คือการจัดสร้างอุทยานวิทยาศาสตร์
*** ข้อมูลทั้งหมดผมได้รับฟังจากวีดีทัศน์และคำพูดท่านอธิการบดี มรภ.อุดร และท่านนายกหาญชัย โดยทั้ง 2 ท่านบอกว่า การจัดตั้งและโครงการต่างๆจะเกิดขึ้นเร็วหรือช้าขึ้นอยู่กับคนในท้องถิ่น ซึ่งทั้งนี้ได้ตั้งเป้าไว้ว่า น่าจะภายในปี 2556 ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการแบ่งส่วนอาคารและสถานที่เพิ่มเติมใน มรภ. สามพร้าว และจะไม่มีการยุบ มรภ.อุดรธานี แต่จะมีการอุปภัมภ์เป็นมหาวิทยาลัยใหม่ขึ้นมา แต่มีรูปแบบการบริหารโดย มรภ.และมหาลัยใหม่ทั้ง 2 เข้าด้วยกัน
ทั้งนี้ ความก้าวหน้าการก่อสร้างมหาวิทยาลัย ณ ศูนย์การศึกษาสามพร้าว ขณะนี้การก่อสร้างและพัฒนาพื้นที่แล้วเสร็จกว่า 80% แล้ว ได้แก่ อาคารกลุ่มเทคโนโลยี 6 หลัง พร้อมบ้านพักอาจารย์ และอาคารเรียนรวม อาคารกลุ่มวิทยาศาสตร์ รวมทั้งหอพักนักศึกษา และ
ดร.ณัติเทพ พิทักษานุรัตน์ อธิการบดี กล่าวถึงความก้าวหน้าในการพัฒนาพื้นที่ล่าสุดว่า “มหาวิทยาลัยฯ ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานภายนอกเป็นอย่างดี โดยนายอำนาจ ผการัตน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี ได้ช่วยผลักดันโครงการพัฒนาด้านสาธารณูปโภค ไปยังพื้นที่ศูนย์การศึกษา ดำเนินการรังวัดเขตถนน 4 ช่องจราจร จากถนนเลี่ยงเมืองอุดรธานี ไปยังศูนย์การศึกษาสามพร้าว ระยะทางประมาณ 14 กิโลเมตร เพื่ออำนวยความสะดวกแก่นักศึกษา ซึ่งแขวงการทางอุดรธานี สำนักงานที่ดินจังหวัดอุดรธานี ได้เข้ามาช่วยเหลือ ในการดำเนินงาน ” (ล่าสุดมีโครงการถนนวงแหวนชั้นที่ 2 จากถนนมิตรภาพที่มาจากขอนแก่น ตรง ต.โนนสูง ผ่านสามพร้าว ไปเชื่อมต่อถนนมิตรภาพทางไปหนองคาย ที่ ต.นาข่า )
คนอุดรต่างคนต่างอยากเห็นอุดร มีสถาบันอุดมศึกษา อันขึ้นชื่อเป็นหน้าเป็นตา เป็นแหล่งศึกษาของลูกหลานชาวอุดรอย่างแท้จริง แนวทางที่น่าจะเป็นไปได้มากที่สุดคือการขยับขยายราชภัฎที่สามพร้าวให้เป็น มหาวิทยาลัยเอกเทศในอนาคต เพราะในตอนนี้มีราชภัฎอุดรได้เป็นผู้เริ่มต้นแล้ว การของบประมาณต่อยอดจากรัฐบาลน่าจะทำได้ง่ายขึ้น โดยให้พี่น้องชาวอุดรร่วมกันผลักดันมหาวิทยาลัยให้เกิดขึ้น ในช่วงแรกอาจจะต้องให้ราชภัฎเป็นพี่เลี้ยงให้ก่อน และยกฐานะขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยอุดรธานี ต่อไปน่าจะทำได้(เช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ซึ่งยกฐานะมาจาก ม.ราชภัฏ )
มรภ.ราชภัฎอุดรธานี และทางท่านนายกหาญชัย และอธิการบดี มรภ.ราชภัฏ ได้กล่าวถึงแนวนโยบายการพัฒนามหาวิทยาลัยในปี 2553 – 2556 ดังนี้
1.ความคืบหน้าจากวีดีทัศน์ ทางมหาวิทยาลัยได้นำเสนอ คือ
- การจัดตั้ง คณะและสาขาวิชาเพิ่มภายในปี 2554-2556 มีดังนี้
จะเปิดหลังมีความพร้อมด้านอาคารเสร็จเรียบร้อยที่ วิทยาเขตสามพร้าวคือ
1.คณะพยาบาลศาสตร์
2.คณะวิศวกรรมศาสตร์
3.คณะแพทยศาสตร์
4.คณะเภสัชศาสตร์
5.คณะทันตะแพทยศาสตร์
- การแยกสาขาวิชา และคณะที่มีความทับซ้อนกันกับที่ มรภ.เก่าในตัวเมือง เช่น นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ สาธารณะสุข ศิลปกรรมศาตร์ รวมไปถึงสาขาวิชาอื่นๆอีก
โดยโครงการที่ร่วมกับ อบจ. ก็คือการจัดสร้างอุทยานวิทยาศาสตร์
*** ข้อมูลทั้งหมดผมได้รับฟังจากวีดีทัศน์และคำพูดท่านอธิการบดี มรภ.อุดร และท่านนายกหาญชัย โดยทั้ง 2 ท่านบอกว่า การจัดตั้งและโครงการต่างๆจะเกิดขึ้นเร็วหรือช้าขึ้นอยู่กับคนในท้องถิ่น ซึ่งทั้งนี้ได้ตั้งเป้าไว้ว่า น่าจะภายในปี 2556 ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการแบ่งส่วนอาคารและสถานที่เพิ่มเติมใน มรภ. สามพร้าว และจะไม่มีการยุบ มรภ.อุดรธานี แต่จะมีการอุปภัมภ์เป็นมหาวิทยาลัยใหม่ขึ้นมา แต่มีรูปแบบการบริหารโดย มรภ.และมหาลัยใหม่ทั้ง 2 เข้าด้วยกัน
ระบบสาธารณูปโภค และในปีการศึกษา 2553 นี้ จะเริ่มเปิดให้บริการ โดยนำนักศึกษาคณะครุศาสตร์ และมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวนกว่า 2,000 คน มาทำการเรียนการสอน ณ ศูนย์สามพร้าวเป็นรุ่นแรก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น